Authorอุบลวรรณ ปิติพัฒนะโฆษิต
Titleการสื่อสารและสารสนเทศในสมัยรัชกาลที่ 9 : การวิจัย / อุบลวรรณ ปิติพัฒนะโฆษิต, สุธี พลพงษ์, ไศลทิพย์ จารุภูมิ
Imprint กรุงเทพฯ : คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539
Connect tohttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1760
Descript 347 หน้า : ภาพประกอบ ; 29 ซม

SUMMARY

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงศึกษาและสนพระราชหฤทัยในด้านการสื่อสารมาโดยตลอด ทรงผลิตผลงานออกมาเผยแพร่ หรือทรงเข้าร่วมในกิจกรรมนั้นๆ ทั้งในด้านสื่อสิ่งพิมพ์ เช่น พระราชนิพนธ์อันทรงคุณค่า ด้านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น วิทยุสื่อสาร ด้านเพลง และดนตรี เช่น พระราชนิพนธ์เพลงและทรงเปียโน ด้านคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ ทรงสนพระทัยคอมพิวเตอร์และนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชัเพื่อประโยชน์ของประชาชน มีการพัฒนาฐานข้อมูลในเรื่องเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจ เป็นต้น
งานวิจัยเชิงประวัติศาสตร์เรื่องนี้จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมข้อมูล เรื่องราวและเหตุการณ์ต่าง ๆ ของสื่อสารมวลชน และสารสนเทศของไทยที่เกิดขึ้นในช่วง 50 ปี (พ.ศ. 2489-2539) ผลการวิจัย สรุปได้ดังนี้ 1. รัฐบาลและเหตุการณ์ผันแปรทางการเมืองในช่วงเวลาต่าง ๆ มีส่วนในการกำหนดเนื้อหาของสื่อมวลชนในช่วงแรก ๆ เป็นอย่างมาก (พ.ศ. 2489-2520) 2. ระบบธุรกิจและกลไกทางการตลาด มาแรงในการกำหนดเนื้อหาของสื่อมวลชนในช่วงหลัง ๆ (พ.ศ. 2521-2539) 3. สื่อมวลชนมีการขยายตัวเป็นกลุ่มอุตสาหกรรมสื่อสารมวลชนโดยขยายการครอบครองจากสื่อหนึ่งไปยังสื่ออื่น ๆ 4. สื่อมีการแยกย่อยเน้นเฉพาะเรื่องมากขึ้น เป็นการพัฒนาเนื้อหาของสื่อเพื่อให้ตรงกับความสนใจของคนแต่ละกลุ่ม 5. การก้าวเข้าสู่ยุคสังคมสารสนเทศของไทย คนไทยสมัยใหม่นิยมใช้เทคโนโลยีใหม่ และสนใจสารสนเทศรูปแบบต่าง ๆมากขึ้น
The purpose of this historical research project is to collect the data about stories and events of the Thai mass media and information during the past 50 years between 1946 to 1996. The result can be concluded as the following: 1.The government and political changes in various period has the major role in determining the content of mass media in the first period during 1946-1987. 2. Economic system and marketing strategies has the major role in determining the content of the mass media in the later period during 1988-1996. 3. The mass media has been enlarged to be mass media industry by monopoly one media to another 4. The media has been divided into more small subject in order to provide more specific content according to the need and interest of each audience group. 5. In entering the age of information in Thailand. Thai people prefer to use new technologies and various forms of information technique.


CONTENT

การสื่อสารมวลชนของไทย -- วิทยุกระจายเสียง -- โทรทัศน์ -- ภาพยนตร์ -- ระบบโทรคมนาคมและสารสนเทศของไทยในช่วง 50 ปี -- ระบบสารสนเทศของไทย -- ระบบโทรคมนาคมและสารสนเทศในสมัยรัชกาลที่ 9 -- ภาพรวมของการสื่อสารและสนเทศของไทย -- พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 กับการสื่อสารและสารสนเทศของไทย


SUBJECT

  1. ภูมิพลอดุลยเดช
  2. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
  3. 2470-2559
  4. การสื่อสาร
  5. สารสนเทศ
  6. เทคโนโลยีสารสนเทศ
  7. โทรคมนาคม -- ไทย
  8. สื่อมวลชน -- ไทย
  9. communication
  10. information

LOCATIONCALL#STATUS
Education Library : Research Collection302.2 อ447ก CHECK SHELVES
Communication Arts Library : Research Collectionนศ 302.23 อ835ก CHECK SHELVES
Communication Arts Library : Research Collectionนศ 302.23 อ835ก CHECK SHELVES
Central Library (5th Floor)302.23 อ835ก CHECK SHELVES
Thailand and ASEAN Information Center (6th Floor)[TAIC] 54599 CHECK SHELVES
Arts Library : StackHE8490.56 อ245ก CHECK SHELVES