Authorธีรมน ไวโรจนกิจ
Titleผังแม่บทสถาบันเทคโนโลยี่พระจอมเกล้าศูนย์ลาดกระบัง ปี พ.ศ. 2528 / ธีรมน ไวโรจนกิจ = The master plan of King Mongkut's Institute of Technology Ladkrabang Campus in the year 1985 / Teeramon Wairoohanakieh
Imprint 2518
Connect tohttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18847
Descript ก-ฒ, 156 แผ่น : ภาพประกอบ

SUMMARY

ข้อปัญหา วัตถุประสงค์สำคัญของการศึกษาในโครงการนี้คือ เพื่อค้นหาแนวทางที่ถูกต้องสำหรับการวางผังมหาวิทยาลัยในประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งผังแม่บทของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าศูนย์ลาดก ระบัง เพราะว่า มหาวิทยาลัยในประเทศไทยถึงแม้จะมีมาเป็นเวลาเกือบ 60 ปีก็ตาม แต่ก็ไม่มีมหาวิทยาลัยแห่งใดที่มีการวางผังแม่บทสำหรับมหาวิทยาลัยอย่าง ถูกต้อง ซึ่งได้ก่อให้เกิดความสูญเสียทางด้านการศึกษาและเศรษฐกิจแก่ชาติเป็นอั นมาก และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าศูนย์ลาดกระบังแห่งนี้ก็เป็นสถานศึกษ าระดับอุดมศึกษาแห่งล่าสุดที่จัดสร้างขึ้นในสถานศึกษาแห่งใหม่ จึงเห็นสมควรที่จะต้องมีการวางผังแม่บทสำหรับสถานศึกษาแห่งนี้ เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้เกิดเป็นมหาวิทยาลัยที่ขาดผังมหาวิทยาลัยอย่าง ถูกต้องที่เป็นอยู่กับเกือบทุกมหาวิทยาลัยในประเทศไทย วิธีการวิจัย เพื่อให้สามารถกำหนดผังให้สอดคล้องกับลักษณะความต้องการและ พฤติกรรมของมหาวิทยาลัย ผู้วิจัยได้ทำการศึกษาดังนี้คือ ลักษณะของการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาของอังกฤษ สหรัฐอเมริกาและของประเทศไทย 2. พฤติกรรมหรือลักษณะของมหาวิทยาลัยตามกาลเวลาที่เปลี่ยนไปทั้งของต่ างประเทศและในประเทศไทย 3. ความต้องการพื้นฐานทางกายภาคที่จะประกอบขึ้นเป็นมหาวิทยาลัย 4. สภาพอดีตและปัจจุบันของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าศูนย์ลาดกระบัง ทั้งทางด้านการใช้ที่ดิน สิ่งปลูกสร้าง จำนวนประชากร ความรู้สึกของประชากรต่อสถานศึกษา ผลของการให้การศึกษา และการสังคม สรุปการวิจัย จากการวิจัยปรากฏผลดังนี้คือ 1. 1. มหาวิทยาลัยในประเทศไทยส่วนใหญ่ขาดโครงการศึกษาระยะยาว ซึ่งเห็นเหตุให้การวางผังแม่บทมหาวิทยาลัยเป็นไปได้ยาก 2. มหาวิทยาลัยมีการขยายตัวตามกาลเวลาและความต้องการของสังคม 3. มหาวิทยาลัยไม่ได้ประกอบด้วยส่วนการศึกษาอย่างเดียว แต่ประกอบด้วยองค์ประกอบหลายๆด้าน เช่น การพักอาศัย การสังคม และสิ่งสนับสนุนการศึกษา เป็นต้น 4. ระยะห่างระหว่างที่พักอาศัยกับสถานศึกษามีผลกระทบกระเทือนต่อการเรีย นของนักศึกษา 5. สิ่งแวดล้อมภายในมหาวิทยาลัย รวมทั้งการวางผังและการออกแบบการใช้อาคารในมหาวิทยาลัยมีผลกระท บกระเทือนต่อการเรียนของนักศึกษา ข้อเสนอแนะ 1. ต้องมีการวางผังแม่บทสำหรับมหาวิทยาลัยทุกมหาวิทยาลัยไว้ล่วงหน้า 2. ต้องมีการเตรียมการสำหรับการขยายตัวในผังแม่บทของมหาวิทยาลัยและ ควรเป็นลักษณะที่สามารถรับการขยายตัวทุกประเภท ทุกขนาด เพราะการกำหนดโครงการศึกษาระยะยาวคงเป็นไปได้ยาก3. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าศูนย์ลาดกระบัง ควรขยายบริเวณสถานศึกษาให้มีพื้นที่มากขึ้น 4. ระบบการสัญจรในสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าศูนย์ลาดกระบังควรเป็น ระบบางเดินเท้า เพราะจากทุกตำแหน่งในบริเวณสถานศึกษาสามารถเดินมายังศูนย์กลางส ถานศึกษาภายในเวลา 10 นาที 5. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าศูนย์ลาดกระบัง ควรจัดให้มีองค์ประกอบครบทั้งด้านการศึกษา การอยู่อาศัยและการสังคม 6. ควรแยกให้บริเวณพักอาศัยของสถานศึกษาออกจากบริเวณการศึกษา โดยมีศูนย์กลางมหาวิทยาลัยกั้นกลาง 7. อาคารในองค์ประกอบการศึกษาควรมีลักษณะเหมาะสมสำหรับการศึกษาแ บบลงทะเบียนร่วม 8. มหาวิทยาลัยควรมีบริเวณสำหรับหาเงินผลประโยชน์เพื่อเพิ่มรายได้แก่สถา นศึกษา อันจะเป็นส่วนช่วยให้สถานศึกษาสามารถดำเนินการตามนโยบายด้วยควา มอิสระจากรัฐบาลมากขึ้น
The main purpose of this study is to research for problem in campus planning in Thailand and to lay out a master plan for King Mongkut’s Institute of Technology at Ladkrabang. Although Thailand has had higher education for almost 60 years, only a few universities have long-term planning program. The situation has damaged the education and economy of the country. It is essential to provide a master plan for the campus of the King Mongkut’s Institute of Technology which has recently been established.To formulate concepts and oritcria for campus planning the following studies were made: 1. A comparative analysis of the system of higher education in Great Britain, United States and Thailand. 2. Investigating the pattern of growth and changes over times of Universities in Thailand and other countries. 3. Examining the basic physical elements and their relations of campuses. 4. A survey of the past and present conditions of King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang Campus in various aspects such as land use, building structure, its population characteristics, sence of community and social life as well as the results of education. The following general findings and recommendation can be concluded : 1. The lack of long-term academic planning and campus master plans widens the gap between social needs and education responsibility. The growth of universities should be planned. 2. The social and physical environments of campus can inserts significant impacts upon academic results. A greater social opportunity in campus should be recognized. 3. The spatial relationship between the residential and academic facilities is an importance factor in the academic performance of students. A proposal for King Mongkut’s Institute of Technology : 1. The Ladkrabang campus should prepare additional land for future expansion. The piece of land on the south between Klong Pravet and Soi Onnuj should be comed by the University. 2. The present looking social and residential faoilities is rather critical. By all mean, they should be provided within a decade to become a complete education community. 3. The social activities should be located at the center of the campus linking both the academic and residential zone. 4. It should be a pedestrian community. Vehicular interference would be minimized. 5. The greatest walking distance (vertical and horizontal) between various units of the academic core should not be more than a 10-minute walk. The academic facilities thus can serve a cross registration education function. 6. A part of the land should be allocated for income producing activities such as shopping facilities. Thus the University can be more independent form the government in terms of financial support.


SUBJECT

  1. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
  2. สถาปัตยกรรม -- การออกแบบ