AuthorPatcharin Chatprasert
TitleEvaluation of pollution in Nakhon Nayok River using QUAL2E-UNCAS and GIS / Patcharin Chatprasert = การประเมินภาวะมลพิษในแม่น้ำนครนายก โดยการใช้แบบจำลองคณิตศาสตร์ QUAL2E-UNCAS ร่วมกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ / พัชรินทร์ ฉัตรประเสริฐ
Imprint 2000
Connect tohttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6158
Descript xiv, 143 leaves : ill., charts, maps

SUMMARY

QUAL2E-UNCAS was used to study Nakhon Nayok river water quality. Five simulated water quality parameters consist of Dissolved Oxygen (DO), Biochemical Oxygen Demand (BOD), ammonia nitrogen (NH3_N), nitrite nitrogen (NO2_N), nitrate nitrogen (NO3_N), dissolved phosphorous (Dis_P), and temperature. In order to get critical area of Nakhon Nayok river, water quality parameters were simulated during dry season, i.e. October-April. DO, BOD, Nitrogen Cycle, Phosphorous Cycle, and Temperature calibration results between water quality data of years 1993-1999 which are obtained from PCD and field survey data taken on December 8, 2000, It was found that all simulated water quality parameters show the good agreement with measured values, while water level and flow from simulation agree with measured ones only at upstream. In addition, GIS was used to visualize critical area. Study on uncertainty analysis makes one realize the respond of output to input. It can beused to plan the using of model to further study on water quality.
การศึกษาครั้งนี้ได้ประยุกต์ใช้แบบจำลองคณิตศาสตร์ QUAL2E-UNCAS ในการศึกษาคุณภาพน้ำในแม่น้ำนครนายก โดยพารามิเตอร์ที่ศึกษา ได้แก่ ออกซิเจนละลาย ค่าความต้องการออกซิเจนของสารอินทรีย์แอมโมเนียไนโตรเจน ไนไตรท์ไนโตรเจน ไนเตรทไนโตรเจน ฟอสฟอรัสละลาย และอุณหภูมิ เพื่อให้ได้พื้นที่วิกฤตของแม่น้ำนครนายก จึงทำการจำลองคุณภาพน้ำในช่วงฤดูน้ำน้อย คือ เดือนตุลาคมถึงเมษายน ผลการปรับเทียบออกซิเจนละลาย ค่าความต้องการออกซิเจนของสารอินทรีย์ แอมโมเนียไนโตรเจน ไนไตรท์ไนโตรเจน ไนเตรทไนโตรเจน ฟอสฟอรัสละลาย และอุณหภูมิระหว่างข้อมูลคุณภาพน้ำปี 2536-2542 จากกรมควบคุมมลพิษและข้อมูลภาคสนามวันที่ 8 ธันวาคม 2000 พบว่าข้อมูลที่ได้จากการจำลองและที่ได้จากการวัดจริงมีความสอดคล้องกัน สำหรับผลการปรับเทียบระดับน้ำและปริมาณน้ำระหว่างข้อมูลที่ได้จากการจำลองและข้อมูลภาคสนามมีความสอดคล้องกันเฉพาะต้นน้ำ นอกจากนี้ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ยังสามารถใช้แสดงให้เห็นถึงพื้นที่วิกฤตได้ จากการศึกษาความไม่แน่นอนของแบบจำลองทำให้ทราบถึงการตอบสนองของข้อมูลนำออกต่อข้อมูลนำเข้า และสามารถนำไปใช้ในการวางแผนการใช้แบบจำลองเพื่อศึกษาคุณภาพน้ำได้


SUBJECT

  1. Water quality
  2. คุณภาพน้ำ

LOCATIONCALL#STATUS
Central Library @ Chamchuri 10 : Thesis430745 LIB USE ONLY