Authorฤทัยรัตน์ บุญสมบัติ
Titleการแสดงออกของเอนไซม์แลกเตทดีไฮโดรจิเนสจาก Rhizopus oryzae เพื่อใช้ในการผลิตกรดแลกติกใน Esherichia coli : รายงานการวิจัย = Expression of Rhizopus oryzae lactate dehydrogenase for lactid acid production in Esherichia coli / ฤทัยรัตน์ บุญสมบัติ
Imprint กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพและวิศวกรรมพันธุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554
Connect tohttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31025
Descript ก-ฌ, 39 แผ่น : ภาพประกอบ ; 29 ซม

SUMMARY

กรดแลกติกได้ถูกนำไปใช้ในอุตสาหกรรมอย่างกว้างขวางในอุตสาหกรรมต่าง ๆ รวมถึงความเป็นไปได้ในการใช้เป็นสารตั้งต้นเพื่อผลิตพลาสติกชีวภาพ กระบวนการผลิตเพื่อให้ได้กรดแลกติกที่บริสุทธิ์ในปริมาณมากมีความสำคัญอย่างยิ่งในการสร้างพอลิเมอร์จากกรดแลกติก จากปัญหาที่เกิดจากการผลิตกรดแลกติกทางชีวภาพด้วยแบคทีเรียกลุ่ม Lactobacilli ทำให้มีความพยายามในการใช้จุลินทรีย์อื่น เช่น รา Rhizopus oryzae แม้ว่า R. oryzae จะให้กรดแลกติกไอโซเมอร์ L บริสุทธิ์ แต่ยังมีข้อจำกัดในการใช้สิ่งมีชีวิตนี้เพื่อการผลิตกรดแลกติก ดังนั้นจึงมีการใช้เทคนิคทางวิศวกรรมพันธุ์ศาสตร์เข้ามาช่วย โดย Esherichia coli เป็นทางเลือกที่มีความเป็นไปได้สูง โดยในดครงการวิจัยนี้ได้ทำการตัดต่อยีน IdhA จาก R. oryzae เข้าสู่พลาสมิต แล้วนำเข้าสู่ E. coli เมื่อยีน Idha บนโครโมโมโซมถูกทำลายยีน IdhA ของ R. oryzae ในอาหารเลี้ยงเชื้อที่มีกลูดคส 100 g/L พบว่ามีการแสดงออกของยีน IdhA บนพลาสมิตสามารถแสดงออกได้และมีการผลิตกรดแลกติกที่ผลิตได้ยังมีปริมาณน้อย (5.03±4.149 g/L) ทั้งนี้อาจเป็นผลมาจากปริมาณน้ำตาลกลูโคนที่เหลือในอาหารเลี้ยงเชื้อในปริมาณมากยับยั้งการผลิตกรดแลกติก
Lactic acid is widely used in various industrial applications including the use as a potential precursor for biodegradable plastics. To synthesize the polymers of lactic acid, the production of optically pure monomers is essential. The high cost along with several disadvantages from lactic acid biosynthesis by Lactobacilli leads to an attempt to use other organisms such as Rhizopus oryzae instead. Although it produces optically pure L-isomer lactic acid, R. oryzae has some limitations for using as lactic acid producer. To solve these problems, genetic modification of Escherichia coli will be a potential alternative to develop as a host for optically pure lactic acid production. In this research, plasm ids containing R. oryzae IdhA were transformed into E. coli cells. When E. coli IdhA gene is knocked out, the R. oryzae IdhA gene onto the plasmiC: can be expressed. E. coli strain with plasmids containing R. oryzae was fermented by using media containing 100 gIL glucose. The result suggests that the R. OIyzae IdhA gene on the plasmid can express and the optical condition for lactic acid fermentation is the use of fermentation media without Amplicilin in anaerobic conditions. However, the lactic acid yield obtained from this strain is still low (S.03±4.149 gIL). This may result from the high amount of remaining glucose in the culture that may inhibit the lactic acid production.


SUBJECT

  1. Lactic acid
  2. Dehydrogenases
  3. Lactate dehydrogenase
  4. Biodegradable plastics
  5. Escherichia coli -- Genetics
  6. Lactic acid industry
  7. กรดแล็กติก
  8. ดีไฮโดรจีเนส
  9. แลกเตต ดีไฮโดรจีเนส
  10. พลาสติกที่ย่อยสลายทางชีวภาพ
  11. เอสเคอริเคียโคไล -- พันธุศาสตร์
  12. อุตสาหกรรมผลิตกรดแล็กติก

LOCATIONCALL#STATUS
Central Library (4th Floor)660.28449 ฤ176ก CHECK SHELVES