Authorอรศิริ ปาณินท์
Titleถิ่นฐานและสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นผู้พูดภาษาตระกูลไท / อรศิริ ปาณินท์
Imprintกรุงเทพฯ : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2560
Edition พิมพ์ครั้งแรก
Descript-

SUMMARY

บทความทั้ง 10 เรื่องที่รวบรวมในหนังสือเล่มนี้ คัดสรรเฉพาะบทความที่เกี่ยวข้องกับ "กลุ่มชาติพันธุ์ผู้พูดภาษาตระกูลไท" ที่ตีพิมพ์ในวารสารหน้าจั่ว วารสารวิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ซึ่งศึกษาทั้งกลุ่มชนชาติพันธุ์ผู้พูดภาษาตระกูลไทที่ตั้งถิ่นฐานในประเทศไทย และประเทศอื่นๆ ที่เป็นดินแดนต้นกำเนิด (Center of origin) กล่าวคือ "กลุ่มไทขืน" ในเมืองเชียงตุง รัฐฉาน เมียนมา "กลุ่มไทลื้อ" ในเมืองเชียงรุ่งและเมืองอื่นๆ ในมณฑลยูนนาน จีน "กลุ่มไทดำ" ในเดียนเบียนฟู ภาคเหนือของเวียดนาม "กลุ่มลาว" ซึ่งในการศึกษาในลาวจัดแบ่งออกเป็น "ลาวลุ่ม" ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มผู้พูดภาษา ตระกูลไทกลุ่มต่างๆ เป็นหลัก -- คำนำ


CONTENT

บ้านและเรือนพวนเชียงขวาง : การย้อนกลับมาตั้งถิ่นฐานใหม่ในพื้นที่เดิม -- การเปลี่ยนถ่ายสัมภาระทางวัฒนธรรมของชาวพวน : จากเชียงขวางสู่ลุ่มน้ำภาคกลางของไทย -- การปรับตัวในบริบทใหญ่ที่แตกต่างของกลุ่มชาติพันธุ์ไท-ลาวในพื้นที่ลุ่มน้ำภาคกลางของไทย -- เรือนพักอาศัยในกลุ่มชาติพันธุ์ผสมผสาน : โซ่งและพวนที่บ้านวังรอ ต.วังมหากร อ.ท่าตะโก จ.นครสวรรค์ -- เรือนลาวแง้วที่บ้านตาลเสี้ยน สระบุรี -- กล่าวถึงวัดบ้านถิ่นสิบสองพันนาอีกสักครั้ง -- ระบบนิเวศกับการวางผังหมู่บ้านพื้นถิ่นไทขืนเชียงตุง -- งานภาคสนามเรือนพื้นถิ่นที่บ้านเหม้า เชียงตุง -- พลวัตของเรือนพื้นถิ่นไทใหญ่ในพื้นที่ร่วมทางภูมิศาสตร์ในอุษาคเนย์ : ไทย เมียนมา จีน อินเดีย -- เครือญาติเรือนพื้นถิ่นคนสยามในตุมปัต กลันตัน มาเลเซีย


SUBJECT

  1. สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น -- เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
  2. สถาปัตยกรรมที่อยู่อาศัย -- เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
  3. กลุ่มชาติพันธุ์ -- ที่อยู่อาศัย
  4. ไทใหญ่ -- ที่อยู่อาศัย
  5. ไทดำ -- ที่อยู่อาศัย

LOCATIONCALL#STATUS
Central Library (5th Floor)720.959 อ379ถ 2560 CHECK SHELVES
Central Library (5th Floor)720.959 อ379ถ 2560 CHECK SHELVES