Authorโอสธี จิระอานนท์
Titleการศึกษาสิทธิประโยชน์ด้านภาษีของธุรกิจถ่านหินในกรอบประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (AEC) / โอสธี จิระอานนท์ = Case study of import duty privilege coal in AEC agreement / Osathee Jira-arnon
Imprint 2555
Descript ก-ซ, 59 แผ่น: ภาพประกอบ, แผนภูมิ

SUMMARY

กลุ่มอานาจเศรษฐกิจโลกในปัจจุบันได้ปรับเปลี่ยนโฉมหน้าไป จากกลุ่มประเทศตะวันตกเคลื่อนมายังกลุ่มประเทศตะวันออก อันรวมถึงกลุ่มประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรืออาเซียนที่มีการพัฒนาความสัมพันธ์กันใกล้ชิดมากขึ้น จากเขตการค้าเสรีอาเซียนเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี 2558 โดยให้มีการเคลื่อนย้ายทรัพยากรการผลิตไม่ว่า แรงงานฝีมือ เงินทุน หรือบริการและการลงทุนได้อย่างเสรีและเน้นลดกาแพงภาษีระหว่างกันจนเป็น 0% ในระยะสิบปีที่ผ่านมา ประเทศไทยมีการนาเข้าถ่านหินโดยเฉพาะจากประเทศอินโดนีเซียอันเป็นประเทศสมาชิกอาเซียนเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ และแนวโน้มการใช้ถ่านหินในอนาคตจะยังทรงตัวในระดับสูงเนื่องจากราคาน้ามันเชื้อเพลิงยังมีราคาแพงกว่าถ่านหินมากและความต้องการพลังงานในภาคอุตสาหกรรมมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเช่นกัน โครงการนี้จึงศึกษาถึงขั้นตอนการนาเข้าและการใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีภายใต้กรอบประชาคมอาเซียนของสินค้าถ่านหิน ว่ามีการเปลี่ยนแปลงไปจากการนาเข้าในกรอบเขตการค้าเสรีอาฟตาอย่างไร รวมไปถึงปัญหาที่เกิดขึ้นในการใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษี เพื่อให้ผู้นาเข้าของไทยมีความรู้ในด้านระเบียบวิธีและเงื่อนไขสิทธิประโยชน์ทางภาษีอย่างเพียงพอ อันจะส่งผลให้ประเทศไทยมีภาระต้นทุนโดยรวมต่าลง ซึ่งส่งผลต่อระดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศ สาขา
Economic power groups have been gently changed from Western to Eastern. Southeast Asian Nations block or ASEAN noticed that sign and planned to unitize ASEAN to be more than ASEAN Free Trade Area (AFTA). They become to be ASEAN Economic Community (AEC) in attention to facilitate flow of production resources such as skilled labor and capital as same as flow of services and investments within member countries. One of AEC purposes is reduction of duty to be 0% for goods imported within ASEAN. For last 10 years, volume of coal imported from Indonesia is increasing. Trend of such importing is more and more pushed by higher oil price and higher demand of power consumption in Industrial section. This project will study the process of importing and applying duty privilege for coal in AEC agreement and how different from AFTA agreement. Furthermore, issues in applying duty privilege will be discussed in order to prevent problems and propose a correct method in implementing for privilege for Thai importers for the sake of reducing total cost of production which affect to competitive advantage of Thailand.


LOCATIONCALL#STATUS
Chula Business School Library : Special Project53831159 LIB USE ONLY