AuthorKetthip Anuwareephong
TitlePreparation and doping of poly(3-hexylthiophene) films / Ketthip Anuwareephong = การเตรียมและการโดปฟิล์มพอลิ(3-เฮกซิลไทโอฟีน) / เกศทิพย์ อนุวารีพงษ์
Imprint 2006
Connect tohttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41618
Descript xvi, 86 leaves : ill.

SUMMARY

The synthesis of poly(3-hexylthiophene) by the oxidative coupling of thiophene monomer with anhydrous ferric chloride in organic solvent was investigated. Various experimental factors in the polymerization reactions to yield poly(3-hexylthiophene) including reaction temperatures, the mole ratios of 3-hexylthiophene and ferric chloride, types of solvent and additives, with the goal of obtaining higher %yield and Head-to-Tail ratio (%HT), The best synthesis condition of poly(3-hexylthiophene) was obtained when running the reaction at room temperature in dichloromethane and at the mole ratio of 3-hexylthiophene monomer : ferric chloride = 1:3. Under this condition, the polymer was obtained in 94% yield with 78% HT. Various doping methods of poly(3-hexylthiophene) were investigated. For protonic acid doping, trichloroacetic acid and trifluroacetic acid were found to successfully give the doped products without precipitation while all Lewis acid dopings resulted in precipitation of the doped products. Solvato-controlled doping with the combinations of either methanesulfonic acid –thiophene, ferric chloride –pyridine, or aluminium chloride –pyriding gave the doped polymer films without pre-precipitation problem.
งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาการสังเคราะห์พอลิ(3-เฮกซิบไทโอฟีน) ด้วยวิธีออกซิเดทีฟพอลิเมอไรเซชันของไทโอฟีนมอนอเมอร์ด้วยแอนไฮดรัสเฟอร์ริกคลอไรด์ ในตัวทำละลายอินทรีย์ โดยมีปัจจัยต่าง ๆ ทางการทดลองที่ใช้ในปฏิกิริยา ได้แก่ อัตราส่วนของ 3-เฮกซิลไทโอฟีนมอนอเมอร์ต่อเฟอร์ริกคลอไรด์ อุณหภูมิที่ใช้ทำปฏิกิริยา ชนิดของตัวทำละลาย และสารเติมแต่ง โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ได้เปอร์เซ็นต์ผลิตภัณฑ์ และสัดส่วนของ Head-toTail (%HT) ที่สูงขึ้น จากการทดลอง พบว่า เมื่อใช้ไดคลอโรมีเทนเป็นตัวทำละลาย ทำปฏิกิริยาที่อุณหภูมิห้อง อัตราส่วนของ 3-เฮกซิลไทโอฟีนต่อเฟอร์ริกคลอไรด์ เท่ากับ 1:3 เหมาะสมต่อการสังเคราะห์ที่สุด คือจะมีเปอร์เซ็นต์ผลิตภัณฑ์เท่ากับ 94 และ %HT เท่ากับ 78 ส่วนการศึกษาการโดปพอลิ(3-เฮกซิลไทโอฟีน) ด้วยพอลิ(3-เฮกซิลไทโอฟีน) ได้โดยตรงโดยไม่เกิดปัญหาการตกตะกอนของพอลิเมอร์ที่ถูกโดปในขณะที่กรดลิวอิสพบปัญหาการตกตะกอนของพอลิเมอร์ที่ถูกโดปทำให้ไม่สามารถขึ้นฟิล์มได้และการโดปแบบโวลวาโต-คอนโทรล ที่ใช้ส่วนผสมของกรดมีเทนซัลโฟนิก-ไทโอฟีน, เฟอร์ริกคลอไรด์ –ไพริดีน หรืออะลูมิเนียมคลอไรด์ – ไพริดีนจะสามารถขึ้นฟิล์มได้โดยไม่เกิดปัญหาการตกตะกอน


SUBJECT

  1. พอลิ(3-เฮกซิลไทโอฟีน)
  2. Polythiophene
  3. Polymer synthesis
  4. Poly(3-hexylthiophene)

LOCATIONCALL#STATUS
Central Library @ Chamchuri 10 : Thesis492105 LIB USE ONLY