AuthorJabr, samer F K, author
TitleBreak-Even Analysis and Willingness of CVD Patients to pay for the Service of Catheter Unit in Ramallah Hospital, Palestine / Jabr, Samer F K = การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนและความยินดีที่จะจ่ายต่อบริการของหน่วยสวนหัวใจในโรงพยาบาลรามาเลาะห์ ประเทศปาเลสไตน์ / ซาเมียร์ เอฟ เค จาเบอร์
Imprint 2004
Connect tohttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69127
Descript xii, 109 leaves : charts

SUMMARY

This study has been undertaken with objectives of determining of break-even point of catheter unit and to investigate whether government subsidizes the catheter unit or not. The methodology of the study was based on cost analysis by using step-down method to allocate overhead costing. Equivalent diagnosis has been used to determine break-even point. A questionnaire consisting of 13 independevt variables was used to gather primary data from individuals to determine willingness to pay (WTP) and to estimate the demand function for this unit. Sensitivity analysis has been used to estimate the economic benefit for patients and government. From the findings of the study, it was revealed that variable cost consitst of 56% of total cost, while fixed cost consists of 44% the same. OLS method has been used to estimate the unit variable cost for each function. It was found that the unit variable cost for Diagnosis is $141, for Balloon is $532. and for Pacemaker is $1,690. Break-even point for each function has been estimated as Diagnosis, Balloon, and Pacemaker. It was found that actual numbers of patients who obtain service exceed the break-even point in each function. Further it was revealed that for diagnostic test, all income groups are willing to pay higher than the costs. For Balloon, rich patients can leave a difference which can cover 23.5% of ppr Balloon patients. For Pacemaker, income groups are willing to pay lower than the costs. Economic benefit for patient was estimated of $4,480 for five years, $8,960 for ten years, $13,440 for 15 years, and $17,920 for 20 years. Expected benefit for government from each patient was estimated of $ 1,636 for five years, $3,295 for ten years, $4,955 for 15 years, and $6,614 for 20 years. The policy recommendations to improve this service in Palestine can be proposed as follows: the government can increase the capacity of the present catheter unit by providing more subsidizes. And also establish another catheter unit in Gaza strip to provide more service to the people.
การศึกษานี้มีจุดมุ่งหมายในการคำนวณจุดคุ้มทุนของสวนหัวใจ และเพื่อตรวจสอบว่า รัฐบาลควรให้เงินอุดหนุนหน่วยสวนหัวใจหรือไม่ วิธีการศึกษานี้จะยึดการวิเคราะห์ต้นทุน โดยวิธี Step-down ในการจัดสรรต้นทุนส่วนค่าใช้จ่ายโรงพยาบาล (Overhead Cost) จุดคุ้มทุนจะอยู่ในรูปของจำนวนคนไข้วินิจฉัยหรือเทียบเท่า แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิสำหรับตัวแปรอิสระทั้ง 13 ตัวจากแต่ละบุคคล เพื่อบ่งชี้ความยินดีที่จะจ่าย (Willingness to Pay: WTP) และเพื่อประมาณฟังก์ชันอุปสรค์สำหรับหน่วยนี้ การประมาณผลประโยชน์ทางเศรษฐศาสตร์สำหรับคนไข้และภาครัฐบาลจะใช้ การวิเคราะห์ความไว (Sensitivity Analysis) จากการศึกษา พบว่า ค่าใช้จ่ายผันแปรคิดเป็นร้อยละ 56 ของต้นุทนทั้งหมด ขณะที่ต้นทุนคงที่คิดเป็นร้อยละ 44 เท่านั้น วิธี OLS ถูกใช้ในการประมาณต้นทุนผันแปรต่อหน่วย (Unit Variable Cost) สำหรับแต่ละฟังก์ชัน มีการพบว่า ในการวินิจฉัจโรค (Diagnosis) มี ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย 141 เหรียญสหรัฐ และต้นทุนผันแปรต่อหน่วยสำหรับคนไข Balloon 532 เหรียญสหรัฐ และ 1,690 เหรียญสหรัฐ สำหรับคนไข้ pacemaker จุดคุ้มทุนสำหรับแต่ละฟังก์ชันนี้ถูประมาณขึ้นโดยแยกตามประเภทคนไข้ ได้แก่ การวินิจฉัย (Diagnosis), Balloon. และ Pacemaker จากการศึกษายังได้พบว่า จำนวนที่แท้จริงของคนไข้ที่ได้รับบริการนั้นเกินกว่าจุดคุ้มทุนในแต่ละฟังชัน สำหรับการทดสอบการวินิจฉัย (Diagnostic Test) นั้น กลุ่มผู้มีรายได้ทุกกลุ่มต้องการจ่ายเกินต้นทุน สำหรับคนไข Balloon นั้น มีฐานะร่ำรวยต้องการจ่รายสูงเกินกว่าต้นทุน ขณะที่คนไข้ที่มีฐานะยากจนต้องการจ่ายต่ำกว่าต้นทุน โดยส่วนเกินที่คนไข้ที่มีฐานะร่ำรวยจ่ายนั้น เป็นร้อละ 23.5 ของจำนวนเงินที่คนไข้ที่มีฐานะยากจนจ่ายไม่เพียงพอต่อต้นทุน แต่สำหรับคนไข Pacemaker นั้น ทุกกลุ่มผู้มีรายได้ต้องการจ่ายต่ำกว่าต้นทุน แลผระโยชน์ทางเศรษฐศาสตร์สำหรับคนไข้ที่เกิดขึ้นคิดเป็น 4,480 เหรียญสหรัฐใน 5 ปี 8,960 เหรียญสหรัฐใน 10 ปี 13,440 เหรียญสหรัฐ ใน 15 ปี และ 17,920 เหรียญสหรัฐ ใน 20 ปี ผลประโยชน์ที่ภาครัฐคาดหวังไว้จากคนไข้แต่ละคน มีประมาณ 1,636 เหรียญสหรัฐ ใน 5 ปี 3,295 เหรียญสหรัฐใน 10 ปี 4,955 เหรียญสหรัฐใน 15 ปี และ 6,614 เหรียญสหรัฐใน 20 ปี ข้อเสนอแนะนโยบายเพื่อการพัฒนาบริการประเภทนี้ในประเทศปาเลสไตน์ จากการศึกษาครั้งนี้คือรัฐบาลควรเพิ่มความสามารถของหน่วยสวนหัวใจปัจจุบัน โดยการให้เงินสนับสนุนเพิ่ม และจัดตั้งหน่วยสวนหัวใจอีกหนึ่งหน่วยในฉนวนกาซ่า เพื่อขยายขอบข่ายบริการแก่ประชาชน


SUBJECT

  1. Hospitals -- Palestine
  2. Patients
  3. cost of
  4. Heart -- Diseases -- Patients
  5. Break-even analysis
  6. โรงพยาบาล -- ปาเลสไตน์
  7. หัวใจ -- โรค -- ผู้ป่วย
  8. ผู้ป่วย -- ค่าใช้จ่าย
  9. ค่าบริการทางการแพทย์
  10. การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน

LOCATIONCALL#STATUS
Economics Library : ThesisThesis EC.509 LIB USE ONLY