AuthorSomboon Subwongcharoen
TitleDiagnosis helicobacter pylori by re-used pronto dry test / Somboon Subwongcharoen = การตรวจวินิจฉัยหาเชื้อเฮลิโคแบคเตอร์ไพโลริด้วยชุดตรวจพรอนโตดรายที่เคยใช้แล้วกลับนำมาใช้ใหม่ / สมบูรณ์ ทรัพย์วงศ์เจริญ
Imprint 2004
Connect tohttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2536
Descript xi, 60 leaves : charts

SUMMARY

Objective: To determine sensitivity, specificity, accuracy to diagnose H. pylori in dyspepsia patients by re-used Pronto Dry test Design: Diagnostic cross-sectional study. Setting : Rajavithi Hospital.Method: 202 patients with symptom of dyspepsia that need endoscopic procedure to make diagnosis were enrolled in this study. After complete examination duodenum, stomach, 3 pieces of gastric mucosa each from antrum and body were obtained and randomly allocated for histology with immunohistochemistry, new Pronto Dry, re-used Proto Dry. Results of all these tests, age, sex were recorded. Results: This study showed that sensitivity, specificity, accuracy of re-used Pronto Dry test were 61.70% (95% C147.29-74.70), 96.77% (95% CI 92 .99-.98.81), 88.61% (95% CI 83.66-92.46) respectively, and the kappa agreement between re-used Pronto Dry test and new Pronto Dry test was 0.63(95%CI 0.51-0.74). Prevalence of functional dyspepsia was 7.9% and prevalence of H. pylori infection was 23%. There was no adverse event in this study. Conclusion: Re-used Pronto Dry test could be used to diagnose H. pylori infection with intermediate sensitivity, and high specificity, therefore It is not recommended to use for screening test of H. pylori infection.
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความไว ความจำเพาะ ความแม่นยำของชุดตรวจพรอนโตดรายที่เคยใช้แล้วกลับนำมาใช้ใหม่ในผู้ป่วยที่มีอาการปวดแน่นท้องด้านบน ที่ต้องรับการตรวจด้วยการส่องกล้องตรวจทางเดินอาหาร รูปแบบการทดลอง: การศึกษาแบบวิจัยเชิงพรรณา แบบตัดขวาง การตรวจวินิจฉัย สถานที่ทำการวิจัย: โรงพยาบาลราชวิถี วิธีการศึกษา : คนไข้ที่มีอาการจุกแน่นท้องส่วนบน ที่จำเป็นต้องเข้ารับการตรวจวินิจฉัยด้วยการส่องกล้องตรวจหาพยาธิสภาพ และตรวจหาเชื้อเฮลิโคแบคเตอร์ไพโลริ จำนวน 202 ราย ผู้ป่วยทุกรายหลังจากตรวจด้วยกล้องส่องทางเดินอาหารเรียบร้อย ก่อนเอากล้องออก จะตัดชิ้นเนื้อบริเวณแอนทรัมและบอดี้ของกระเพาะอาหารตำแหน่งละ 3 ชิ้น ชิ้นขนาด 2-3 มิลลิเมตร หลังจากนั้นแบ่งส่วนชิ้นเนื้อเป็น 3 ส่วน ส่วนละ 2 ชิ้น เพื่อส่งตรวจทางอิมมูนูฮิสโตเคม, ตรวจพรอนโตดรายชุดใหม่, ตรวจพรอนโตดรายที่เคยใช้และกลับนำมาใช้ใหม่ โดยจะเปรียบเทียบชุดตรวจพรอนโตดรายที่เคยใช้แล้วกลับนำมาใช้ใหม่ กับฮิทมูโนฮิสโตเคม และชุดตรวจพรอนโตดรายใหม่ อายุ, เพศ ผลการตรวจทางกล้องจนการตรวจแต่ละชนิดจะถูกเก็บบันทึกไว้ ผลการศึกษา: พบว่าชุดตรวจพรอนโตดรายที่เคยใช้แล้วกลับนำมาใช้ใหม่มีความไว 61.70% (95% CI47.29-74.70) ความจำเพาะ 96.77%(95% CI 92.99.-98.81) และความแม่นยำ 88.61% (95% CI 83.66-92.46) และมีความสัมพันธ์กับชุดสตรวจพรอนโตดรายใหม่ แคปปา 0.63 (95% CI 0.51-0.74) พบกลุ่มอาการที่ปวดแน่นท้องโดยไม่พบพยาธิสภาพผิดปกติทางกล้อง ความชุก 7.9% แต่ตรวจพบเชื้อเฮลิโคแบคเตอร์ไพโลริ มีความชุก 23% ไม่พบภาวะแทรกซ้อนในการตรวจวินิจฉัยนี้ สรุป : ชุดตรวจพรอนโดที่เคยใช้และกลับมาใช้ใหม่ ให้ความไวปานกลางแต่จำเพาะสูง ไม่แนะนำให้นำกลับมาใช้ตรวจกรองหาเชื้อเฮลชิโคแบคเตอร์ไพโลริ


SUBJECT

  1. Helicobacter pylori
  2. Diagnosis

LOCATIONCALL#STATUS
Central Library @ Chamchuri 10 : Thesis471513 LIB USE ONLY
Medicine Library : ThesisS69322 2004 CHECK SHELVES