Authorรังสิมา ศิริรังษี
Titleความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติและพฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งทั่วไป 27 กรกฎาคม 2529 ของนิสิตนักศึกษามหาวิทยาลัย / รังสิมา ศิริรังษี = The relationship between attitude and voting behavior of universites' students in the general election on 27th July 1986 / Rangsima Sirirangst
Imprint 2531
Connect tohttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48235
Descript [12], 191 แผ่น

SUMMARY

การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติและพฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งทั่วไป 27 กรกฎาคม 2529 ของนิสิตนักศึกษามหาวิทยาลัยและเพื่อศึกษาถึงปัจจัยนี้มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งดังกล่าว ผลการวิจัยพบว่า ทัศนคติที่มีต่อการเลือกตั้งทั่วไป 27 กรกฎาคม 2529 ของนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนักศึกษามหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการไปหรือไม่ไปลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง ทัศนคติที่มีต่อสถาบันการเลือกตั้ง, ทัศนคติต่อสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและทัศนคติต่อรัฐบาลไม่มีความสัมพันธ์กับแบบพฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งของนิสิตนักศึกษามหาวิทยาลัย ดังนั้นการไปลงคะแนนเสียงเลือกตั้งของนิสิตนักศึกษาจึงไม่ขึ้นอยู่กับความพอใจหรือไม่พอใจที่มีต่อสถาบันการเลือกตั้ง, สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและรัฐบาล นิสิตนักศึกษาส่วนใหญ่ไปลงคะแนนเสียงด้วยจิตสำนึกมากกว่าถูกระดม ที่เป็นดังนี้เพราะ นิสิตนักศึกษาส่วนใหญ่มีความรู้สึกมีประสิทธิภาพทางการเมืองมากกว่าจะเห็นการเลือกตั้งเป็นหน้าที่ของพลเมืองดีที่จะต้องมีพันธะผูกพันกับระบบการเมือง นอกจากนี้ผลการวิจัยพบว่าความตั้งใจที่จะไปลงคะแนนเสียงเลือกตั้งของนิสิตนักศึกษาไม่มีความสัมพันธ์กับแบบแผนพฤตกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งและแบบแผนของการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งของนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนักศึกษามหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ไม่แตกต่างกัน
The purpose of this thesis is to study the relationship between attitude and voting behavior of university students in the general election on 27th July 1986. Moreover, it is an attempt to emphasize the determined factors of voting behavior. The findings of this thesis can be described that there is no relationship between attitude and voting behavior of Chulalongkorn University students and Dhurakijpundit University students in the general election on 27th July 1986. The attitudes toward electoral institution, candidates and government do not affect the patterns of voting behavior. Most students do not vote in accordance with their attitudes. They tend to vote in accordance with their autonomous responsibilities rather than mobilized. The casual reason is that they remind their political efficacy rather than civic obligation while they decide to vote. In addition, it was found that there are no relationships between intentions to vote and patterns of voting behavior of university students. Moreover, there are no differences in the patterns of voting behavior between Chulalongkorn University students and Dhurakijipundit University students.


SUBJECT

  1. ทัศนคติ
  2. การลงคะแนนเสียง
  3. นักศึกษา

LOCATIONCALL#STATUS
Political Science Library : Thesisวป 326 LIB USE ONLY