function hideloginbutton() { if (window.location.href.indexOf("chula.idm.oclc.org") > -1) { document.getElementById("linkl").style.display = "none"; document.getElementById("linklo").style.display = "block"; } }
Office of Academic Resources
Chulalongkorn University
Chulalongkorn University

Home  /  All OAR Recommended Books


ประวัติย่อของความเหลื่อมลํ้า = A brief history of equality

ประวัติย่อของความเหลื่อมลํ้า = A brief history of equality

ความสำคัญของแนวคิดอุดมการณ์เกี่ยวข้องอย่างไรกับความเหลื่อมล้ำ อุดมการณ์ในแต่ละสังคมมีความแตกต่างกันตามค่านิยมสังคม ประวัติศาสตร์สังคม ซึ่งอุดมการณ์จะเป็นตัวครอบงำความคิดและพฤติกรรมของสมาชิกในสังคมว่า ลักษณะแบบใดเป็นเรื่องยุติธรรมหรือไม่ยุติธรรม อุดมการณ์เป็นสิ่งที่แปรผันไปตาม สภาพแวดล้อมและกาลเวลา และสร้างมายาคติว่าความเหลื่อมล้ำเป็นสิ่งธรรมชาติและถูกต้องแล้ว

สารบัญ

บทนำ

1. การเคลื่อนไหวสู่ความเท่าเทียม หลักหมุดแรก

2. การกระจายอำนาจและทรัพย์สินอันล่าช้า

3. มรดกแห่งระบบทาสและลัทธิอาณานิคม

4. ประเด็นเรื่องค่าสินไหมทดแทน

หนังสือเล่มหนึ่งจากหลายเล่มในนิทรรศการหนังสือแนะนำ “ชนชั้นในสังคม” จัดแนะนำ ชั้น 1 สำนักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เดือน 0


LOCATIONCALL#STATUS
Central Library (5th Floor)305.09 พ631ป 2566CHECK SHELVES


99 ต่อ 1 เกลียวมรณะแห่งความเหลื่อมล้ำ

99 ต่อ 1 เกลียวมรณะแห่งความเหลื่อมล้ำ

เมื่อความมั่งคั่งกระจุกตัว...การลุกฮือประท้วงจึงปะทุขึ้นทั่วโลก

ใครคือกลุ่มคน 1 เปอร์เซ็นต์ มีรายได้ต่อปีเท่าไหร่ ชักใยอยู่เบื้องหลังนักการเมืองได้อย่างไร

และใครคือกลุ่มคน 99 เปอร์เซ็นต์ที่รับกรรม

สารบัญ

แยกออกจากกัน -- ใครคือพวก 1 เปอร์เซ็นต์ -- การใช้อิทธิพลชักใยกฎเกณฑ์เศรษฐกิจของพวก 1 เปอร์เซ็นต์ -- ชีวิตในกลุ่ม 99 เปอร์เซ็นต์ -- เครื่องจักรความเหลี่อมล้ำแห่งวอลล์สตรีต -- ความเหลื่อมล้ำทำลายทุกสิ่งที่เราห่วงใย -- ความเหลื่อมล้ำด้านความมั่งคั่งบดขยี้เศรษฐกิจ -- เมื่อยักษ์ 99 เปอร์เซ็นต์ตื่น -- พลิกเกลียวมรณะแห่งความเหลื่อมล้ำ -- กล้าเปลี่ยนกฎเกณฑ์เพื่อสลายความมั่งคั่งแบบรวมศูนย์

หนังสือเล่มหนึ่งจากหลายเล่มในนิทรรศการหนังสือแนะนำ “ชนชั้นในสังคม” จัดแนะนำ ชั้น 1 สำนักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เดือน 0


LOCATIONCALL#STATUS
Political Science Library339.22 ค192กCHECK SHELVES
Political Science Library339.22 ค192กCHECK SHELVES
Economics Library303.44 ค193ต 2557CHECK SHELVES
Central Library (5th Floor)339.22 ค192กCHECK SHELVES
Central Library (5th Floor)339.22 ค192กCHECK SHELVES


ก้าวแรกที่เท่าเทียม = Giving kids a fair chance

ก้าวแรกที่เท่าเทียม = Giving kids a fair chance

หากเราต้องการสร้างบุคคลที่ประสบความสำเร็จสร้างความเสมอภาคในการเข้าถึงโอกาส สร้างเศรษฐกิจที่มีพลวัตและสร้างสังคมที่อยู่ดีมีสุขยิ่งขึ้นเราต้องปรับเปลี่ยนการดำเนินนโยบายทางสังคมขนานใหญ่ โดยมุ่งเน้นการแทรกแซงช่วงปฐมวัย

สารบัญ

- ให้โอกาสเด็กทุกคนเริ่มต้นอย่างเท่าเทียม

- ข้อคิดเห็น

- การเกื้อหนุนวงจรชีวิต

หนังสือเล่มหนึ่งจากหลายเล่มในนิทรรศการหนังสือแนะนำ “ชนชั้นในสังคม” จัดแนะนำ ชั้น 1 สำนักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เดือน 0


LOCATIONCALL#STATUS
Political Science Library370.111 ฮ589กCHECK SHELVES
Political Science Library370.111 ฮ589กCHECK SHELVES
Political Science Library370.111 ฮ589กCHECK SHELVES
Central Library (5th Floor)372.210973 ฮ589ก 2559CHECK SHELVES
Central Library (5th Floor)372.210973 ฮ589ก 2559CHECK SHELVES


ยุทธศาสตร์สุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย

ยุทธศาสตร์สุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย

หนังสือเล่มหนึ่งจากหลายเล่มในนิทรรศการหนังสือแนะนำ “ชนชั้นในสังคม” จัดแนะนำ ชั้น 1 สำนักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เดือน 0


LOCATIONCALL#STATUS
Central Library (5th Floor)306.76 ช154ย 2564CHECK SHELVES
Central Library (5th Floor)306.76 ช154ย 2564CHECK SHELVES


ประวัติย่อของความเหลื่อมลํ้า = A brief history of equality

ประวัติย่อของความเหลื่อมลํ้า = A brief history of equality

ความสำคัญของแนวคิดอุดมการณ์เกี่ยวข้องอย่างไรกับความเหลื่อมล้ำ อุดมการณ์ในแต่ละสังคมมีความแตกต่างกันตามค่านิยมสังคม ประวัติศาสตร์สังคม ซึ่งอุดมการณ์จะเป็นตัวครอบงำความคิดและพฤติกรรมของสมาชิกในสังคมว่า ลักษณะแบบใดเป็นเรื่องยุติธรรมหรือไม่ยุติธรรม อุดมการณ์เป็นสิ่งที่แปรผันไปตาม สภาพแวดล้อมและกาลเวลา และสร้างมายาคติว่าความเหลื่อมล้ำเป็นสิ่งธรรมชาติและถูกต้องแล้ว

สารบัญ

บทนำ

1. การเคลื่อนไหวสู่ความเท่าเทียม หลักหมุดแรก

2. การกระจายอำนาจและทรัพย์สินอันล่าช้า

3. มรดกแห่งระบบทาสและลัทธิอาณานิคม

4. ประเด็นเรื่องค่าสินไหมทดแทน

หนังสือเล่มหนึ่งจากหลายเล่มในนิทรรศการหนังสือแนะนำ “ชนชั้นในสังคม” จัดแนะนำ ชั้น 1 สำนักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เดือน 0


LOCATIONCALL#STATUS
Central Library (5th Floor)305.09 พ631ป 2566CHECK SHELVES


ยุทธศาสตร์สุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย

ยุทธศาสตร์สุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย

การปรับเปลี่ยนของหลักการสิทธิมนุษยชนระดับนานาชาติที่เริ่ม “มองเห็น” สิทธิของคนหลากหลายอัตลักษณ์ทางเพศนี้ มิได้เกิดจากความว่างเปล่าแต่เป็นผลจากการต่อสู้ขับเคลื่อนของขบวนการเคลื่อนไหวเรียกร้องสิทธิของ‘กลุ่มLGBTIQN+’ ซึ่งรัฐไม่มีความสามารถจะเข้าใจความแตกต่างของมนุษย์และสนใจให้คุณค่ากับการ ‘เป็น’ เพศหลากหลายเหล่านั้น ทั้งยังกดทับและปิดกั้นอัตลักษณ์หลากหลายดังกล่าวด้วยแบบแผนทางเพศที่รัฐยึดถืออย่างแข็งทื่อตายตัว จากการเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิและอัตลักษณ์ของกลุ่ม LGBTIQN+ที่ร่วมเป็นส่วนหนึ่งของขบวนการสิทธิมนุษยชนในทศวรรษ 1970 กลุ่มคนที่มีอัตลักษณ์ทางเพศหลากหลายถูกเรียกว่าเป็น Sexual Minorities ที่สังคม

สารบัญ

บทที่ 1 นิยามศัพท์ / กรอบแนวคิดยุทธศาสตร์สุขภาวะ / แนวคิดและกระบวนการจัดทำยุทธศาสตร์

บทที่ 2 บริบทและสถานการณ์ปัญหาสุขภาวะของกลุ่มประชากร LGBTIQN+

บทที่ 3 สถานภาพองค์ความรู้สุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย

บทที่ 4 กรณีศึกษายุทธศาสตร์สุขภาวะ LGBTIQN+

บทที่ 5 ยุทธศาสตร์สุขภาวะ LGBTIQN+

หนังสือเล่มหนึ่งจากหลายเล่มในนิทรรศการหนังสือแนะนำ “ชนชั้นในสังคม” จัดแนะนำ ชั้น 1 สำนักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เดือน 0


LOCATIONCALL#STATUS
Central Library (5th Floor)306.76 ช154ย 2564CHECK SHELVES
Central Library (5th Floor)306.76 ช154ย 2564CHECK SHELVES


การไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง ในฐานะการพัฒนาแนวใหม่ของโลก

การไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง ในฐานะการพัฒนาแนวใหม่ของโลก

โจทย์ของโลกอยู่ที่ทำให้การไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลังมีผลจริงมากกว่าวาทศิลป์

สารบัญ

บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพัฒนาที่ไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง

บทที่ 2 ทฤษฎีการพัฒนาทุกส่วน การพัฒนาที่ยั่งยืนฉบับ SDGs กับสิทธิมนุษยชน

บทที่ 3 ความยากจนและความเหลื่อมล้ำ

บทที่ 4 การกีดกันทางสังคม

บทที่ 5 ใครบ้างที่ยังถูกทิ้งไว้ข้างหลัง

หนังสือเล่มหนึ่งจากหลายเล่มในนิทรรศการหนังสือแนะนำ “ชนชั้นในสังคม” จัดแนะนำ ชั้น 1 สำนักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เดือน 0


LOCATIONCALL#STATUS
Central Library (5th Floor)303.44 ร861ก 2566CHECK SHELVES
Central Library (5th Floor)303.44 ร861ก 2566CHECK SHELVES


ยุทธศาสตร์สุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย

ยุทธศาสตร์สุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย

การปรับเปลี่ยนของหลักการสิทธิมนุษยชนระดับนานาชาติที่เริ่ม “มองเห็น” สิทธิของคนหลากหลายอัตลักษณ์ทางเพศนี้ มิได้เกิดจากความว่างเปล่าแต่เป็นผลจากการต่อสู้ขับเคลื่อนของขบวนการเคลื่อนไหวเรียกร้องสิทธิของ "กลุ่มLGBTIQN+" ซึ่งรัฐไม่มีความสามารถจะเข้าใจความแตกต่างของมนุษย์และสนใจให้คุณค่ากับการ "เป็น" เพศหลากหลายเหล่านั้น ทั้งยังกดทับและปิดกั้นอัตลักษณ์หลากหลายดังกล่าวด้วยแบบแผนทางเพศที่รัฐยึดถืออย่างแข็งทื่อตายตัว จากการเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิและอัตลักษณ์ของกลุ่ม LGBTIQN+ ที่ร่วมเป็นส่วนหนึ่งของขบวนการสิทธิมนุษยชนในทศวรรษ 1970 กลุ่มคนที่มีอัตลักษณ์ทางเพศหลากหลายถูกเรียกว่าเป็น Sexual Minorities ที่สังคม

สารบัญ

บทที่ 1 นิยามศัพท์ / กรอบแนวคิดยุทธศาสตร์สุขภาวะ / แนวคิดและกระบวนการจัดทำยุทธศาสตร์

บทที่ 2 บริบทและสถานการณ์ปัญหาสุขภาวะของกลุ่มประชากร LGBTIQN+

บทที่ 3 สถานภาพองค์ความรู้สุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย

บทที่ 4 กรณีศึกษายุทธศาสตร์สุขภาวะ LGBTIQN+

บทที่ 5 ยุทธศาสตร์สุขภาวะ LGBTIQN+

หนังสือเล่มหนึ่งจากหลายเล่มในนิทรรศการหนังสือแนะนำ “ชนชั้นในสังคม” จัดแนะนำ ชั้น 1 สำนักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เดือน 0


LOCATIONCALL#STATUS
Central Library (5th Floor)306.76 ช154ย 2564CHECK SHELVES
Central Library (5th Floor)306.76 ช154ย 2564CHECK SHELVES


Collection


Location



Office of Academic Resources, Chulalongkorn University, Phayathai Rd. Pathumwan Bangkok 10330 Thailand

Contact Us

Tel. 0-2218-2929,
0-2218-2927 (Library Service)
0-2218-2903 (Administrative Division)
Fax. 0-2215-3617, 0-2218-2907

Social Network

  line

facebook   instragram