function hideloginbutton() { if (window.location.href.indexOf("chula.idm.oclc.org") > -1) { document.getElementById("linkl").style.display = "none"; document.getElementById("linklo").style.display = "block"; } }
ความลับที่คนอ่านหนังสือเท่านั้นจะรู้
พบกับเทคนิคอ่านหนังสือให้เข้าใจมากกว่าเดิม การอ่านเพื่อเก็บข้อมูลและอ่านเพื่อสร้างทัศนคติ วิธีใช้ "การรีวิว" และ "การแลกเปลี่ยนความเห็น" เพื่อเพิ่มความละเอียดลึกซึ้งให้ความคิด ควรอ่าน "หนังสือขายดีติดอันดับ" หรือไม่ "การอ่านแบบคาดเดา" ช่วยให้ความคิดปรับเปลี่ยนได้เร็วขึ้น "การอ่านหนังสือโดยเน้นปริมาณ" กับ "การอ่านในเชิงวิจารณ์" ฯลฯ เพราะการอ่านหนังสือคือการสร้างประสบการณ์และช่วยให้เราเป็นคนที่ลึกซึ้งมากขึ้น
สารบัญ
บทนำ ทำไมเราจึงต้องอ่านหนังสือในยุคสมัยนี้
บทที่ 1 ความหมายของ "ความลึกซึ้ง" ที่มีแต่คนอ่านหนังสือเท่านั้นสามารถเข้าถึงได้
บทที่ 2 ในเมื่อมีทั้งการอ่านที่ทำให้คนเราละเอียดลึกซึ้งขึ้นและทำให้ตื้นเขินลงควรจะอ่านอะไรและอ่านอย่างไรดี
บทที่ 3 วิธีอ่านหนังสือเพิ่มพลังความคิดให้ล้ำลึกขึ้น
บทที่ 4 วิธีอ่านหนังสือเพิ่มความรู้ให้ล้ำลึกขึ้น
หนังสือเล่มหนึ่งจากหลายเล่มในนิทรรศการหนังสือแนะนำ “เทคนิคการอ่านหนังสือ” จัดแนะนำ ชั้น 1 สำนักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เดือน 0
LOCATION | CALL# | STATUS |
---|---|---|
Central Library (4th Floor) | 028 ท374ค 2563 | CHECK SHELVES |
Central Library (4th Floor) | 028 ท374ค 2563 | CHECK SHELVES |
วิชาอ่านโลกระหว่างบรรทัด How to read literature like a professor
ในโลกวรรณกรรม…ผีดูดเลือดคือการเอารัดเอาเปรียบ ไบเบิลเร้นกายอยู่ทุกที่ ฝนไม่เคยเป็นเพียงฝน ทุกสิ่งคือเซ็กซ์ ยกเว้นเซ็กซ์ การเมืองแฝงเร้นในทุกเรื่องราว และการไปเยี่ยมเพื่อนบ้านอาจเป็นการไปเยือนนรก!
ยินดีต้อนรับสู่ชั้นเรียนวรรณกรรมของ "ศาสตราจารย์โธมัส ซี. ฟอสเตอร์" ที่จะพาคุณดำดิ่งสู่โลกเร้นลับระหว่างบรรทัด ท่องอาณาจักรแห่งสัญลักษณ์และนัยแฝงเร้นที่นักประพันธ์ซุกซ่อนไว้ พร้อมเปิดประตูสู่มิติใหม่ภายใต้เรื่องราวที่คุณคุ้นเคยและไม่เคยคุ้น ร่วมหาคำตอบว่าแผลเป็นของแฮร์รี่ พอตเตอร์ สำคัญอย่างไร ทำไมฮันเซลกับเกรเทลจึงปรากฏซ้ำในนวนิยายยุคใหม่ และเหตุใดเราจึงไม่ควร "อ่านวรรณกรรมด้วยสายตาตัวเอง"
มาอ่านโลกระหว่างบรรทัดผ่านแว่นตาของนักอ่านวรรณกรรมชั้นครู ตื่นตากับความเป็นไปได้ไร้ที่สิ้นสุด เบื้องหลังผลงานของเหล่านักประพันธ์ชื่อก้อง ไม่ว่าจะเป็น โฮเมอร์ เชกสเปียร์ คาฟคา หรือเวอร์จิเนีย วูล์ฟ…รับรองว่าเมื่อคุณหยิบวรรณกรรมขึ้นมาอ่านครั้งต่อไป คุณจะได้ละเลียดรสชาติใหม่ที่ลุ่มลึก รุ่มรวย และรื่นรมย์กว่าที่เคย
หนังสือเล่มหนึ่งจากหลายเล่มในนิทรรศการหนังสือแนะนำ “เทคนิคการอ่านหนังสือ” จัดแนะนำ ชั้น 1 สำนักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เดือน 0
LOCATION | CALL# | STATUS |
---|---|---|
Central Library (4th Floor) | 808 ฟ181ว 2565 | DUE 14-06-25 |
Central Library (4th Floor) | 808 ฟ181ว 2565 | CHECK SHELVES |
การอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความ คือ การอ่านที่มุ่งค้นหาสาระของเรื่องหรือของหนังสือแต่ละเล่มที่เป็นส่วน ใจความสำคัญ และส่วนขยายใจความสำคัญของเรื่อง ใจความสำคัญของเรื่อง คือ ข้อความที่มีสาระคลุมข้อความอื่น ๆ ในย่อหน้านั้นหรือเรื่องนั้นทั้งหมด ข้อความอื่น ๆ เป็นเพียงส่วนขยายใจความสำคัญเท่านั้น ข้อความหนึ่งหรือตอนหนึ่งจะมีใจความสำคัญที่สุด
สารบัญ
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการอ่านจับใจความ
หน่วยที่ 2 การอ่านจับใจความสำคัญย่อหน้า
หน่วยที่ 3 การอ่านจับใจความตำราวิชาการ
หน่วยที่ 4 การอ่านจับใจความข่าว
หน่วยที่ 5 การอ่านจับใจความบทความ
หนังสือเล่มหนึ่งจากหลายเล่มในนิทรรศการหนังสือแนะนำ “เทคนิคการอ่านหนังสือ” จัดแนะนำ ชั้น 1 สำนักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เดือน 0
LOCATION | CALL# | STATUS |
---|---|---|
Central Library (4th Floor) | 418.4 ว948ก 2564 | CHECK SHELVES |
Central Library (4th Floor) | 418.4 ว948ก 2564 | CHECK SHELVES |
Arts Library | PL4165 ว287ก 2564 | CHECK SHELVES |
Arts Library | PL4165 ว287ก 2564 | CHECK SHELVES |
วิชาอ่านโลกระหว่างบรรทัด How to read literature like a professor
ในโลกวรรณกรรม…ผีดูดเลือดคือการเอารัดเอาเปรียบ ไบเบิลเร้นกายอยู่ทุกที่ ฝนไม่เคยเป็นเพียงฝน ทุกสิ่งคือเซ็กซ์ ยกเว้นเซ็กซ์ การเมืองแฝงเร้นในทุกเรื่องราว และการไปเยี่ยมเพื่อนบ้านอาจเป็นการไปเยือนนรก!
ยินดีต้อนรับสู่ชั้นเรียนวรรณกรรมของ "ศาสตราจารย์โธมัส ซี. ฟอสเตอร์" ที่จะพาคุณดำดิ่งสู่โลกเร้นลับระหว่างบรรทัด ท่องอาณาจักรแห่งสัญลักษณ์และนัยแฝงเร้นที่นักประพันธ์ซุกซ่อนไว้ พร้อมเปิดประตูสู่มิติใหม่ภายใต้เรื่องราวที่คุณคุ้นเคยและไม่เคยคุ้น ร่วมหาคำตอบว่าแผลเป็นของแฮร์รี่ พอตเตอร์ สำคัญอย่างไร ทำไมฮันเซลกับเกรเทลจึงปรากฏซ้ำในนวนิยายยุคใหม่ และเหตุใดเราจึงไม่ควร "อ่านวรรณกรรมด้วยสายตาตัวเอง"
มาอ่านโลกระหว่างบรรทัดผ่านแว่นตาของนักอ่านวรรณกรรมชั้นครู ตื่นตากับความเป็นไปได้ไร้ที่สิ้นสุด เบื้องหลังผลงานของเหล่านักประพันธ์ชื่อก้อง ไม่ว่าจะเป็น โฮเมอร์ เชกสเปียร์ คาฟคา หรือเวอร์จิเนีย วูล์ฟ…รับรองว่าเมื่อคุณหยิบวรรณกรรมขึ้นมาอ่านครั้งต่อไป คุณจะได้ละเลียดรสชาติใหม่ที่ลุ่มลึก รุ่มรวย และรื่นรมย์กว่าที่เคย
หนังสือเล่มหนึ่งจากหลายเล่มในนิทรรศการหนังสือแนะนำ “เทคนิคการอ่านหนังสือ” จัดแนะนำ ชั้น 1 สำนักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เดือน 0
LOCATION | CALL# | STATUS |
---|---|---|
Central Library (4th Floor) | 808 ฟ181ว 2565 | DUE 14-06-25 |
Central Library (4th Floor) | 808 ฟ181ว 2565 | CHECK SHELVES |
เทคนิคอ่านให้ไม่ลืมที่จิตแพทย์อยากบอกคุณ
เคยไหม...หนังสือที่มีคนอ่านแล้วบอกว่าดี แต่เราอ่านแล้วไม่ค่อยเข้าใจ เคยไหม...อ่านเท่าไหร่ก็ดูจะไม่เข้าหัวสักที เคยไหม...เพิ่งอ่านหนังสือจบวันนี้ วันพรุ่งนี้ก็จำเนื้อหาไม่ได้แล้ว ถ้าคำตอบของคุณคือเคยอย่างน้อยหนึ่งข้อ คุณจำเป็นต้องอ่านหนังสือเล่มนี้โดยด่วน!
"คะบะซะวะ ชิอง" จิตแพทย์ชื่อดังชาวญี่ปุ่น ได้นำประสบการณ์ตรงจากการอ่านหนังสือเดือนละไม่ต่ำกว่า 30 เล่มมาตลอด 30 ปี และความรู้ล่าสุดทางด้านประสาทวิทยามาผสมผสานกัน และสรุปเป็นเทคนิคที่จะช่วยให้คุณอ่านเข้าหัว และจำได้แม่นไม่มีวันลืม ไม่ว่าจะนำไปใช้กับการเรียน การทำงาน ธุรกิจ หรือเรื่องใด ๆ ก็ตามในชีวิต อาทิเช่น อ่านครั้งละ 15 นาที 4 ครั้งจะช่วยให้จำได้แม่นกว่าอ่านรวดเดียว 1 ชั่วโมง ถ้าอยากจำเรื่องยาก ๆ อย่าท่องจำตอนกลางวัน อ่านแบบสลับบทไปมาจะช่วยให้เนื้อหาติดหนึบอยู่ในหัว ขยับมือไปด้วยระหว่างที่อ่าน แล้วพลังสมองจะเพิ่มขึ้นมหาศาล การตั้งใจอ่านทุกตัวอักษรจะทให้คุณจำเนื้อหาได้น้อยลง ถ้าอ่านหนังสือตอนที่กำลังตื่นเต้น คุณจะจำเนื้อหาได้นานถึง 30 ปี!
สารบัญ
บทที่ 1 ทำไมเราจึงควรอ่านหนังสือ และหนังสือให้อะไรกับเรา
บทที่ 2 กฎ 3 ข้อที่ช่วยให้ "อ่านแล้วจำได้ไม่ลืม" ของจิตแพทย์
บทที่ 3 เคล็ดลับขณะอ่านหนังสือของจิตแพทย์ ที่ช่วยให้ "อ่านแล้วจำได้ไม่ลืม"
บทที่ 4 "เทคนิคการอ่านให้จำได้ไม่ลืม" ของจิตแพทย์ ฉบับลงภาคสนาม
หนังสือเล่มหนึ่งจากหลายเล่มในนิทรรศการหนังสือแนะนำ “เทคนิคการอ่านหนังสือ” จัดแนะนำ ชั้น 1 สำนักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เดือน 0
LOCATION | CALL# | STATUS |
---|---|---|
Central Library (4th Floor) | 028.9 ช576ท 2560 | CHECK SHELVES |
Central Library (4th Floor) | 028.9 ช576ท 2560 | CHECK SHELVES |
Chula Business School Library | 028.9 ช576ท 2560 | CHECK SHELVES |
Arts Library | Z1003 ช239ท | CHECK SHELVES |
Arts Library | Z1003 ช239ท | CHECK SHELVES |
อ่านเร็ว เข้าใจ ไม่มีวันลืม Read it, get it, and never forget it
การอ่านสำคัญต่อการคิด การตัดสินใจ และการทำภารกิจแทบทุกอย่าง เราคิดว่าเราอ่านเป็นจริงๆ แล้วดูเหมือนจะไม่ใช่ พบว่า 93% ของพวกเราเสียสมาธิในการอ่านง่ายมาก 84% ลืมข้อมูลที่อ่านแค่ในวันถัดไป 72% อ่านข้อมูลแบบข้ามๆ เพราะอ่านช้าเกินที่จะอ่านทั้งหมด
สารบัญ
วิธีอ่านหนังสือเล่มนี้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
บทนำ สถานการณ์:เรากลายเป็นคนไม่รู้หนังสือกันอีกครั้ง
วิธี Use Clark
หลักการข้อที่ 1:เป็นเรื่องของวิธีล้วนๆ
หลักการข้อที่ 2:อุดช่องว่าง
หลักการข้อที่ 3:ทำงานทีละอย่าง
หลักการข้อที่ 4:ต่อจุด
หลักการข้อที่ 5:ใช้สมองเยอะๆ
หลักการข้อที่ 6:ใช้ภาพ
หลักการข้อที่ 7:ใช้ความคิดสร้างสรรค์
หลักการข้อที่ 8:อย่าเรียนรู้มากเกินไป
การนำไปใช้
เลิกทำแบบขอไปที
บทบาทของการศึกษา
บทบาทของเทคโนโลยี
หนังสือเล่มหนึ่งจากหลายเล่มในนิทรรศการหนังสือแนะนำ “เทคนิคการอ่านหนังสือ” จัดแนะนำ ชั้น 1 สำนักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เดือน 0
LOCATION | CALL# | STATUS |
---|---|---|
Central Library (4th Floor) | 418.4 ต374อ 2561 | CHECK SHELVES |
Central Library (4th Floor) | 418.4 ต374อ 2561 | CHECK SHELVES |
อ่านเร็ว เข้าใจ ไม่มีวันลืม Read it, get it, and never forget it
การอ่านสำคัญต่อการคิด การตัดสินใจ และการทำภารกิจแทบทุกอย่าง เราคิดว่าเราอ่านเป็นจริงๆ แล้วดูเหมือนจะไม่ใช่ พบว่า 93% ของพวกเราเสียสมาธิในการอ่านง่ายมาก 84% ลืมข้อมูลที่อ่านแค่ในวันถัดไป 72% อ่านข้อมูลแบบข้ามๆ เพราะอ่านช้าเกินที่จะอ่านทั้งหมด
สารบัญ
วิธีอ่านหนังสือเล่มนี้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
บทนำ สถานการณ์:เรากลายเป็นคนไม่รู้หนังสือกันอีกครั้ง
วิธี Use Clark
หลักการข้อที่ 1:เป็นเรื่องของวิธีล้วนๆ
หลักการข้อที่ 2:อุดช่องว่าง
หนังสือเล่มหนึ่งจากหลายเล่มในนิทรรศการหนังสือแนะนำ “เทคนิคการอ่านหนังสือ” จัดแนะนำ ชั้น 1 สำนักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เดือน 0
LOCATION | CALL# | STATUS |
---|---|---|
Central Library (4th Floor) | 418.4 ต374อ 2561 | CHECK SHELVES |
Central Library (4th Floor) | 418.4 ต374อ 2561 | CHECK SHELVES |
อ่านเร็ว เข้าใจ ไม่มีวันลืม Read it, get it, and never forget it
การอ่านสำคัญต่อการคิด การตัดสินใจ และการทำภารกิจแทบทุกอย่าง เราคิดว่าเราอ่านเป็นจริงๆ แล้วดูเหมือนจะไม่ใช่ พบว่า 93% ของพวกเราเสียสมาธิในการอ่านง่ายมาก 84% ลืมข้อมูลที่อ่านแค่ในวันถัดไป 72% อ่านข้อมูลแบบข้ามๆ เพราะอ่านช้าเกินที่จะอ่านทั้งหมด
สารบัญ
วิธีอ่านหนังสือเล่มนี้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
บทนำ สถานการณ์:เรากลายเป็นคนไม่รู้หนังสือกันอีกครั้ง
วิธี Use Clark
หลักการข้อที่ 1:เป็นเรื่องของวิธีล้วนๆ
หลักการข้อที่ 2:อุดช่องว่าง
หลักการข้อที่ 3:ทำงานทีละอย่าง
หลักการข้อที่ 4:ต่อจุด
หลักการข้อที่ 5:ใช้สมองเยอะๆ
หลักการข้อที่ 6:ใช้ภาพ
หลักการข้อที่ 7:ใช้ความคิดสร้างสรรค์
หลักการข้อที่ 8:อย่าเรียนรู้มากเกินไป
การนำไปใช้
เลิกทำแบบขอไปที
บทบาทของการศึกษา
หนังสือเล่มหนึ่งจากหลายเล่มในนิทรรศการหนังสือแนะนำ “เทคนิคการอ่านหนังสือ” จัดแนะนำ ชั้น 1 สำนักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เดือน 0
LOCATION | CALL# | STATUS |
---|---|---|
Central Library (4th Floor) | 418.4 ต374อ 2561 | CHECK SHELVES |
Central Library (4th Floor) | 418.4 ต374อ 2561 | CHECK SHELVES |
Collection |