Authorสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต), 2481-
Titleพุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและขยายความ : มัชเฌนธรรมเทศนา-มัชฌิมาปฏิปทา ; หรือ, กฎธรรมชาติและคุณค่าสำหรับชีวิต / พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)
Imprintกรุงเทพฯ : โรงพิมพ์บริษัทสหธรรมิก, 2549
Edition พิมพ์ครั้งที่ 11
Descript (24), 1145 หน้า ; 27 ซม.

CONTENT

มัชเฌนธรรมเทศนา: หลักความจริงที่เป็นกลางตามธรรมชาติ หรือธรรมที่เป็นกลาง-ชีวิตคืออะไร?: ขันธ์ 5-ส่วนประกอบ 5 อย่างของชีวิต - อายตนะ 6-แดนรับรู้และเสพเสวยโลก ; ชีวิตเป็นอย่างไร?: ไตรลักษณ์ ; ชีวิตเป็นไปอย่างไร?: ปฏิจจสมุปบาท-การที่สิ่งทั้งหลายอาศัยกันๆจึงเกิดมี - กรรม ในฐานะหลักธรรมที่เนื่องอยู่ในปฏิจจสมุปบาท ; ชีวิตควรให้เป็นอย่างไร?-วิชชา วิมุตติ วิสุทธิ สันติ นิพพาน : ประโยชน์สูงสุดที่ควรจะได้จากชีวิตนี้ - กระบวนธรรมดับทุกข์ หรือปฏิจจสมุปบาทนิโรธวาร - นิพพาน - ประเภทและระดับแห่งนิพพานและผู้บรรลุนิพพาน - สมถะ วิปัสสนา : เจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ - ความเข้าใจสับสนเกี่ยวกับอนัตตาและนิพพาน - หลักการสำคัญของการบรรลุนิพพาน - ข้อควรทราบเกี่ยวกับนิพพาน - นิพพานกับอัตตา - พระอรหันต์สิ้นชีวิตแล้วเป็นอย่างไร - ชีวิตและคุณธรรมพื้นฐานของอารยชน-เหตุที่คนให้ทาน - ศีลกับเจตนารมณ์ทางสังคม - เรื่องเหนือสามัญวิสัย : อิทธิปาฏิหาริย์และเทวดา - ปัญหาเกี่ยวกับแรงจูงใจ : ตัณหา-ฉันทะ - ความสุข -- มัชฌิมาปฏิปทา : ข้อปฏิบัติที่เป็นกลางตามกฎธรรมชาติ: ชีวิตควรเป็นอยู่อย่างไร?-บุพภาคของการศึกษา-ปรโตโฆสะที่ดี-กัลยาณมิตร - โยนิโสมนสิการ-วิธีคิดแบบแก้ปัญหา-แบบอริยสัจ-แบบวิทยาศาสตร์ - องค์ประกอบของมัชฌิมาปฏิปทา: หมวดปัญญา - หมวดศีล - หมวดสมาธิ-การเจริญสติปัฏฐาน-การอยู่อย่างไม่มีทุกข์ที่จะต้องดับ -- อริยสัจ 4 -- คำอธิบายไตรลักษณ์ตามหลักวิชาในคัมภีร์ ; คุณค่าทางจริยธรรมของไตรลักษณ์ ; พุทธพจน์เกี่ยวกับไตรลักษณ์ -- ความหมายของภวตัณหาและวิภวตัณหา


SUBJECT

  1. พุทธศาสนา -- คำสั่งสอน
  2. ชีวิต -- แง่ศาสนา -- พุทธศาสนา
  3. ธรรมชาติ -- แง่ศาสนา -- พุทธศาสนา
  4. ทางสายกลาง (พุทธศาสนา)
  5. กรรม
  6. การปฏิบัติธรรม
  7. นิพพาน

LOCATIONCALL#STATUS
Education Library294.3 พ1711พธ 2549 CHECK SHELVES
Central Library (5th Floor)294.3 พ1711พม 2549 CHECK SHELVES
Education Library294.3 พ1711พธ 2552 CHECK SHELVES