รูปแบบการลงคะแนนเสียงที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง Citizen-Centric Voting

รูปแบบการลงคะแนนเสียงที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง Citizen-Centric Voting

หนังสือนำเสนอผลการศึกษาสืบเนื่องจากโครงการวิจัย การพัฒนารูปแบบการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย และการชดเชยให้ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งโดยรัฐ โดย ศาสตราจารย์วุฒิสาร ตันไชย เลขาธิการสถาบันพระปกเกล้า และคณะ เนื้อหาดังนี้ บทที่1 บทนำ : วัตถุประสงค์ เป้าหมายของการวิจัย ขอบเขตของการวิจัย ระเบียบวิธีวิจัย การนำเสนอผลการวิจัย บทที่ 2 กรอบแนวคิดสำหรับการศึกษาวิจัย บทที่ 3 การชดเชยผู้มาใช้สิทธิลงคะแนนเลือกตั้งโดยรัฐ เปรียบเทียบข้อดี ข้อเสีย และผลกระทบของมาตรการการจูงใจให้ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง บทที่ 4 รูปแบบวิธีการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งที่นอกเหนือจากการลงคะแนนเสียงโดยใช้บัตรเลือกตั้งที่คูหาเลือกตั้ง เปรียบเทียบข้อดี ข้อเสีย และผลกระทบ บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา : หลักการและแนวทางการพัฒนารูปแบบการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง และ บทที่ 6 ข้อเสนอแนะเชิงทางเลือก : รูปแบบการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งและมาตรการการจูงใจโดยรัฐที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย

หนังสือเล่มหนึ่งจากหลายเล่มในนิทรรศการหนังสือแนะนำ “ประชาธิปไตย & การเลือกตั้ง” จัดแนะนำ ชั้น 1 สำนักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เดือน มีนาคม 2562


LOCATIONCALL#STATUS
Thailand and ASEAN Information Center (6th Floor)[TAIC] 93325CHECK SHELVES
Political Science Library324.65 ว874รCHECK SHELVES
Political Science Library324.65 ว874รDUE 08-12-24
Political Science Library324.65 ว874รCHECK SHELVES
Central Library (5th Floor)324.65 ว874ร 2559CHECK SHELVES
Central Library (5th Floor)324.65 ว874ร 2559CHECK SHELVES

ระบบเลือกตั้งเปรียบเทียบ

ระบบเลือกตั้งเปรียบเทียบ

หนังสือเล่มนี้ได้รับการสนับสนุนจากทุนส่งเสริมการเขียนหนังสือ/ผลิตตำราของคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้เขียน รองศาสตราจารย์ ดร. สิริพรรณ นกสวน สวัสดี ได้อธิบายและให้ความรู้ผ่านเนื้อหา 5 บทดังนี้ บทที่ 1 การเลือกตั้งและระบบเลือกตั้ง ความหมาย หลักการ และพัฒนาการ บทที่ 2 ประเภทของระบบเลือกตั้ง บทที่ 3 กลไกที่เกี่ยวข้องกับระบบเลือกตั้ง บทที่ 4 ระบบเลือกตั้งและพฤติกรรมการตัดสินใจของประชาชน ทฤษฎี กับ ข้อค้นพบ บทที่ 5 การปฏิรูประบบเลือกตั้ง : โอกาสและข้อจำกัด และ บทสรุป บริบททางการเมือง และผลของการเลือกตั้ง นอกจากนั้น ในหนังสือเล่มนี้ ยังมีคำอธิบายระบบเลือกตั้งและอักษรย่อ ดัชนี รวมทั้งบรรณานุกรมข้อมูลให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมอีกด้วย

หนังสือเล่มหนึ่งจากหลายเล่มในนิทรรศการหนังสือแนะนำ “ประชาธิปไตย & การเลือกตั้ง” จัดแนะนำ ชั้น 1 สำนักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เดือน มีนาคม 2562


LOCATIONCALL#STATUS
Political Science Library324.6 ส731รDUE 09-12-24
Political Science Library324.6 ส731รDUE 08-12-24
Political Science Library324.6 ส731รDUE 25-11-24
Political Science Library : Chula Collectionร 72 1648LIB USE ONLY
Thailand and ASEAN Information Center (6th Floor)[TAIC] 97630CHECK SHELVES
Central Library (5th Floor)324.6 ส731ร 2561DUE 18-12-18 BILLED
Central Library (5th Floor)324.6 ส731ร 2561DUE 21-12-24
Arts LibraryJF1001 ส237รCHECK SHELVES

ประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือ (Deliberative Democracy) : แนวคิด และรูปแบบ

ประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือ (Deliberative Democracy) : แนวคิด และรูปแบบ

หนังสือเล่มนี้ เป็นการประมวล ศึกษา ทบทวน และถอดบทเรียนรูปแบบต่าง ๆ ของประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือผ่านกรณีศึกษาที่เคยมีการนำมาใช้สำหรับการพัฒนานโยบายสาธารณะทั้งในและต่างประเทศ โดยมีเนื้อหา ดังนี้ การศึกษารูปแบบและกระบวนการภายใต้แนวคิดประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือ แนวคิดประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือ : ความหมายและคุณลักษณะ ความแตกต่างกับรูปแบบอื่น ๆ ประโยชน์และข้อจำกัดในการนำไปประยุกต์ รูปแบบต่าง ๆ ของประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือ ตัวอย่างกระบวนการประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือเพื่อพัฒนานโยบายสาธารณะในประเทศไทย และ จากตัวแบบสู่แนวปฏิบัติ : บทเรียนและแง่คิดสำหรับการพัฒนานโยบายสาธารณะในประเทศไทย

หนังสือเล่มหนึ่งจากหลายเล่มในนิทรรศการหนังสือแนะนำ “ประชาธิปไตย & การเลือกตั้ง” จัดแนะนำ ชั้น 1 สำนักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เดือน มีนาคม 2562


LOCATIONCALL#STATUS
Law Library (4th Floor)JC423 ป236 2559CHECK SHELVES
Central Library (5th Floor)321.8 ส172ป 2559CHECK SHELVES
Central Library (5th Floor)321.8 ส172ป 2559CHECK SHELVES
Thailand and ASEAN Information Center (6th Floor)[TAIC] 96372CHECK SHELVES
Thailand and ASEAN Information Center (6th Floor)[TAIC] 96372CHECK SHELVES

ประชาธิปไตยไทยในทศวรรษใหม่

ประชาธิปไตยไทยในทศวรรษใหม่

หนังสือจัดทำโดยสถาบันพระปกเกล้า รวบรวมบทความทางวิชาการ จำนวน 8 เรื่อง จากนักวิชาการผู้ทรงคุณวุฒิด้านรัฐศาสตร์ นิติศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ สังคมศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์ ได้แก่ ประชาธิปไตยไทยในทศวรรษ 21 : ทางตัน ทางออก และแนวทางแก้ไข ประชาธิปไตยไทย : บางมุมมองที่ถูกละเลย ความเหลื่อมล้ำกับความเป็นประชาธิปไตย การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ : การมีส่วนร่วม การกระจายอำนาจ และประชาธิปไตย ประชาธิปไตยทางตรงกับความสำคัญของชุมชนท้องถิ่น ระบบราชการกับการเคลื่อนตัวสู่ทศวรรษหน้า การศึกษาเพื่อความเป็นพลเมือง : แก้ปัญหาการเมืองไทยโดยสร้างประชาธิปไตยที่ “คน” และ ประชาธิปไตยแบบไทย ๆ สร้างได้แน่

หนังสือเล่มหนึ่งจากหลายเล่มในนิทรรศการหนังสือแนะนำ “ประชาธิปไตย & การเลือกตั้ง” จัดแนะนำ ชั้น 1 สำนักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เดือน มีนาคม 2562


LOCATIONCALL#STATUS
Central Library (5th Floor)320.9593 ปท236 2559CHECK SHELVES
Central Library (5th Floor)320.9593 ปท236 2559CHECK SHELVES
Thailand and ASEAN Information Center (6th Floor)[TAIC] 96285CHECK SHELVES
Thailand and ASEAN Information Center (6th Floor)[TAIC] 96285CHECK SHELVES